“เล็บขบ” เรื่องเล็กที่ไม่เล็ก ของผู้ป่วยเบาหวาน
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน เวลาเป็นแผล จะหายได้ยาก บางครั้งแผลเล็กน้อยอาจนำไปสู่บาดแผลใหญ่ได้ การมีแผลหรือเล็บขบที่เท้าเองก็เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้ง่ายของผู้ป่วยเบาหวาน หากดูแลเท้าไม่ดี ตัดเล็บที่ไม่ถูกวิธีอาจจะนำไปสู่การเกิดเล็บขบได้ ในบางรายบาดแผลเล็บขบสามารถรุกรานจนต้องตัดนิ้วหรือตัดเท้า การดูแลและศึกษาความรู้เรื่องการตัดเล็บเท้าอย่างถูกวิธีจะช่วยป้องกันได้ในระดับหนึ่งเช่นกัน
ทำความรู้จัก “เบาหวาน” แชมป์โรคประจำตัวในประเทศไทย
โรคเบาหวานมักมีอาการที่ส่งผลให้การดำเนินชีวิตของผู้ป่วยเปลี่ยนไป โดยเริ่มต้นร่างเกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน และร่างกายใช้น้ำตาลไม่ได้และโรคนี้เป็นได้ง่ายโดยจะมีทั้งกรรมพันธุ์และปัจจัยภายนอก เช่น น้ำตาล หากเราไม่ควรคุมการบริโภคน้ำตาลสามารถทำให้เราเป็นเบาหวานได้ โดยเมื่อเป็นและจะมีอาการที่ส่งผลมากมายตามมา
- ปัสสาวะบ่อย
- กระหายน้ำ
- ปากคอแห้ง
- แผลหายยาก
ดังนั้น การเป็นเล็บขบของผู้ป่วยเบาหวาน จึงเป็นเรื่องจำเป็นเร่งด่วนที่จำเป็นต้องรีบรักษา เพื่อมิให้แผลนั้นลุกลามติดเชื้อ และจำเป็นต้องรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเล็บและผิวหนัง เพื่อให้การรักษาเล็บขบที่สะอาด และปลอดภัย ให้ผู้ป่วยเบาหวานหายใจบาดแผลเล็บขบอย่างเร็วไว
“เล็บขบ” เกี่ยวข้องกับเบาหวานได้อย่างไร ?
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน เวลาเป็นแผลจะหายได้ยากบางครั้งแผลเล็กน้อยอาจนำไปสู่บาดแผลใหญ่ได้ และอาจนำไปสู่เรื่องร้ายแรง ผู้ป่วยเบาหวานบางรายมีอาการมือบาว เท้าบวม อาจจะทำให้เกิดเล็บขบได้ โดยถ้าหากผู้ป่วยโรคเบาหวานเป็นเล็บขบแล้ว อาจจะรุณแรงถึงขั้นตัดนิ้วหรือตัดขา เราจึงมาแนะนำการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อป้องกันการเกิดอาการเล็บขบ ดังนี้
- เลือกใส่รองเท้าที่นุ่มที่สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
- สังเกตเท้าอย่างสม่ำเสมอว่ามีแผล เล็บขบ หรือกำลังจะขบหรือไม่
- เลือกใส่ถุงเท้าที่ไม่รัดเท้ามากเกินไป สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ดังนั้น เราจึงควรดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ไม่ให้เกิดเล็บขบ หรือถ้าหากผู้ป่วยเบาหวานเป็นเล็บขบแล้ว ควรรีบเข้ารักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านผิวหนังและเล็บ เพื่อให้การรักษาเล็บขบที่สะอาด และปลอดภัย ให้ผู้ป่วยเบาหวานหายใจบาดแผลเล็บขบอย่างเร็วไว
ปัจจัยที่ทำให้โรคเบาหวานทวีความรุนแรงขึ้น มาจากเล็บขบ จริงหรือไม่ ?
ปัจจัยที่ทำให้โรคเบาหวานทวีความรุนแรงขึ้น มาจากเล็บขบ จริงหรือไม่ เราขอตอบว่า จริง โดยขอแบ่งเป็น 2 ปัจจัยดังนี้
- ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานมักจะมีไขมันที่ไม่สามารถย่อยสลายได้เกาะอยู่ตามเส้นเลือด ทำให้เส้นเลือดตีบแข็ง และเกิดการอุดตัน ส่งผลให้แผลหายยาก เพราะไม่มีเลือดไปหล่อเลี้ยง
- ระบบประสาท จะมีอาการชาเท้า มีความสามารถในการรับความรู้สึกได้น้อยลง ทำให้ไม่รู้สึกเจ็บเมื่อเกิดบาดแผล แม้จะเป็นเล็บขบก็ตาม เพราะฉะนั้นกว่าจะรู้สึกตัวว่าเป็นแผล อาจพบว่ามีการเน่าหรืออาจจะติดเชื้อไปแล้ว ในบางรายอาจจะรุนแรงถึงขั้นที่ต้องตัดเท้า
ดังนั้น เราจึงควรสังเกตอาการผู้ป่วยเบาหวานให้ดี มิให้เกิดบาดแผลต่างๆบริเวณร่างกายโดยเฉพาะเล็บขบ แต่ถ้าหากเกิดเล็บขบในผู้ป่วยเบาหวานขึ้นแล้ว แนะนำให้เข้ารับคำปรึกษาและรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านเล็บและผิวหนัง เพื่อได้รับการรักษาที่ปลอดภัย สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
วิธีดูแลรักษาเมื่อเป็นเล็บขบ สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน
ในผู้ป่วยเบาหวานเนื่องจากเส้นประสาทและเส้นเลือดที่เสื่อมสภาพไปแล้ว จากการเป็นเบาหวานเรื้อรังนั้นการฟื้นฟูให้กลับมาดีดังเดิมนั้นทำได้ยาก แนะนำว่าควรเข้ามาขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญก่อน เนื่องจากการรักษาด้วยตนเองนั้น อาจนำไปสู่อาการที่ร้ายแรงขึ้น โดยการรักษาเล็บขบกับทางเรา ด้วยเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่ “Seven Plus Clinic และ D’Secret Clinic” ปัจจุบันมีเทคโนโลยีการแพทย์หลากหลายรูปแบบและเรามีแพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนังและเล็บโดยเฉพาะ ที่มากประสบกานณ์จาก
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพแพทย์เฉพาะทางโรคผิวหนัง
ด้วยประสบการณ์ที่มีมามากกว่า 15 ปี ของ พญ.มริญญา ผ่องผุดพันธ์ ตจแพทย์ รอให้คำแนะนำและให้คำปรึกษาทุกเรื่อง ปัญหาที่เกี่ยวกับผิวและเล็บของคุณ ด้วยความยินดี และสามารถติดต่อเราได้ทั้ง 2 ช่องทาง
Seven Plus Clinic (ศูนย์เลเซอร์ผิวหนัง เซเว่นพลัส) โทร. 02-0055552 มือถือ 094-924-2294
FB: sevenplusclinic / LineID: @svenplusclinic
D’Secret Clinic (คลินิกผิวหนัง ผม เล็บ) โทร. 02-9102955 มือถือ 091-462-9154
FB: Dsecret clinic / LineID: @dsecretclinic
ประสบการณ์ มากกว่า 15 ปีของ พญ. มริญญา ผ่องผุดพันธ์
ประสบการณ์การทำงาน
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลแม่ฟ้าหลวง
- อาจารย์แพทย์ผิวหนัง โรงพบาบาลรามาธิบดี
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลสมิติเวช
- แพทย์ผิวหนัง โรงพยาบาลกรุงเทพ
ผ่านการศึกษาจาก ( Education )
- Hair Restoration Training, Korea (2015)
- Thai Board of Dermatology, Ramathibodi Hospital (2013)
- Board of Dematopathology, Boston University, USA (2009)
- Master of Science in Dermatology, Boston University, USA (2006)
- Doctor of Medicine, Mahidol University (2001)
- Nail surgery training
- Laser expert training
- Hair expert training
- Boton university usa